วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558

การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย

การรักษาอุณหภูมิในร่างกาย สัตว์ทุกชนิดจะมีกลไกในการพยายามควบคุมให้ร่างกายมีอุณหภูมิระดับหนึ่ง โดยสร้างความร้อนแก่ร่างกาย และในขณะเดียวกันก็ต้องสูญเสียความร้อนบางส่วนออกจากร่างกาย ปริมาณความร้อนที่สร้างขึ้นและสูญเสียไปจะต้องสมดุลกัน สิ่งมีชีวิตจึงจะดำรงชีวิตอย่างปกติได้ เพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของ กรด-เบส ในร่างกายคน

การรักษาสมดุลของกรด- เบสในมนุษย์ การควบคุมกรด เบส ในร่างกายทั่วไปนั้นหมายถึง การควบคุมความเข้มข้นของ ไฮโดรเจนอิออนของน้ำในร่างกายหรือเลือดให้มีค่าคงที่ เพื่อให้เหมาะกับการทำงานของเอนไซม์และปฏิกิริยาต่างๆในร่างกาย เพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในร่างกายคน

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุในมนุษย์ ในร่างกายของมนุษย์จะมีน้ำเป็นองค์ประกอบประมาณ 3 ใน 4 หรือประมาณ 75% ของน้ำหนักตัวโดยน้ำที่อยู่ในร่างกายสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ น้ำที่ประกอบอยู่ภายในเซลล์ประมาณ 60% น้ำที่อยู่นอกเซลล์ประมาณ 30% น้ำที่อยู่ในเนื้อเยื่อและน้ำเลือดอีก เพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ำและแรธาตุในสัตว์ต่างๆ

โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย เพิ่มเติม

การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศัยสภาพแวดล้อมที่มีความเหมาะสมต่อเซลล์ด้วย เพิ่มเติม

การักษาดุลภาพของน้ำในพืช

กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปากใบ เพิ่มเติม

กลไกการรักษาดุลยภาพ

การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต เพิ่มเติม

การลำเลียงสารขนาดใหญ่

การลำเลียงสารขนาดใหญ่ สำหรับสารโมเลกุลใหญ่ เช่น โปรตีน หรือคาร์ไบไฮเดรตที่จำเป็นต้องลำเลียงเข้าหรือออกจากเซลล์แต่ไม่สามารถผ่านโปรตีนตัวพาได้เนื่องจากโมเลกุลมีขนาดใหญ่เกิน สารนั้นจะถูกโอบล้อมด้วยเยื่อหุ้มเซลล์แล้วลำเลียงออกจาก เซลล์ด้วยกระบวนการเอกโซไซโทซิส (exocytose)หรือลำเลียงเข้าสู่เซลล์ด้วยกระบนวการเอกโดไซโทซิส(endocytosis) เพิ่มเติม

การลำเลียงสารโดยใช้พลังงาน

การลำเลียงแบบใช้พลังงาน หรือ แอคตีฟทรานสปอร์ต หรือ การขนส่งแบบกัมมันต์ (อังกฤษ: active tranport) เป็นการเคลื่อนสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นสูง เพิ่มเติม

การแพร่แบบฟาซิลิเทต

การแพร่สารแบบฟาซิลิเทต (อังกฤษ: Facilitated Diffusion) คือการลำเลียงสารจากบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารสูงไปจนถึงบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารต่ำ แต่ต้องอาศัยตัวพาเป็นตัวกลาง (Carrier) ในการแพร่ เพิ่มเติม

การออสโมซิส

การออสโมซิส (อังกฤษ: Osmosis) เป็นกระบวนการแพร่โมเลกุลของน้ำผ่านเยื่อเลือกผ่าน.[1] จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก (สารละลายความเข้มข้นต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง) กระจายจนกว่าโมเลกุลของน้ำจะเท่ากัน เพิ่มเติม

การแพร่

การแพร่ เป็นการกระจายตัวของโมเลกุลของสสารจากจุดที่มีความเข้มข้นสูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล เพิ่มเติม

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพิ่มเติม

เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์

เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น คือ กล้องจุลทรรศน์ การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง เพิ่มเติม